โครงงานสมองกลฝังตัว

  • หน้าหลัก
  • อิคคิวซัง
    • ปีการศึกษา 2562
    • ปีการศึกษา 2561
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
    • ปีการศึกษา 2558
    • ปีการศึกษา 2557
    • ปีการศึกษา 2556
  • ทสรช.
    • ปีการศึกษา 2562
    • ปีการศึกษา 2561
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
  • สถานพินิจ
    • ปีการศึกษา 2562
  • โรงเรียนคนพิการ
    • ปีการศึกษา 2562
  • มหาวิทยาลัย
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
  • STEM ปี 2560
  • Show&Share2022
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อศึกษาและดูแลสิ่งแวดล้อม
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเกษตรอัจฉริยะ
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชน
    • โครงงานลิฟต์
    • รายชื่อผู้เข้าแข่งขันอื่นๆ

TD02 โครงงานลิฟต์ขนของจำลอง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 จังหวัด แม่ฮ่องสอน

Posted on November 29, 2022 by hrh Posted in ss2022โครงงานลิฟต์ .

โครงงานลิฟต์ขนของจำลอง

ผู้จัดทำ
นายสิรวิทย์ วิริยะอาทร
นายโยธิน ยอดคำ
นายเจตน์

อาจารย์ที่ปรึกษา:

นายทศพล พงษ์นิกร
นางสาวลลิตา กันทะเนตร

สถานศึกษา :

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 จังหวัด แม่ฮ่องสอน

ความเป็นมา

ลิฟต์ในอดีต เป็นลิฟต์ที่มีลักษณะการทำงานโดยพึ่งพาแรงของมนุษย์ในการทำให้ลิฟต์สามารถเคลื่อนที่ได้ ใช้สำหรับการขนส่งสิ่งของต่างๆ ขึ้นบนที่สูง ต่อมาจึงพัฒนาเป็นระบบลิฟต์ที่ใช้เครื่องจักรไอน้ำ สู่การปรับเปลี่ยนเป็นระบบไฮดรอลิก และจากระบบไฮดรอลิก ก็พัฒนาเป็นระบบไฟฟ้าที่ใช้กันในปัจจุบัน ซึ่งลิฟต์โดยสารนั้นเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้คน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับผู้ทุพพลภาพไปจนถึงผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องใช้ลิฟต์ในการโดยสารขึ้นอาคารที่มีหลายชั้น โดยไม่ต้องขึ้นบันไดหลายๆ ขั้นให้เกิดความลำบากหรือความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งความปลอดภัยจึงถือว่ามีความสำคัญสูงสุด ในการปรับปรุงที่มีนวัตกรรม และเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้ามาเกี่ยวข้องจะทำให้อุปกรณ์มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น แต่ในความสะดวกของเทคโนโลยีต่างๆ นั้นย่อมมีข้อดีและข้อเสียที่จะทำให้ตัวลิฟต์สามารถทำงานได้อย่างเป็นปกติ ซึ่งในบางครั้งสิ่งที่มักจะหลีกเลี่ยงไม่ได้นั้นก็คือ ความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ เช่น เหตุการณ์ลิฟต์ตกที่อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้โดยสารในตู้หรือส่วนประกอบของลิฟต์ตัวใดตัวหนึ่งขาดพังหรือเสียหาย ส่งผลทำให้เกิดการสูญเสียต่อชีวิต และทรัพย์สินได้ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงเล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น และเป็นที่น่ากังวลสำหรับผู้โดยสารที่มีการใช้งานของลิฟต์ คณะผู้จัดทำจึงได้ออกแบบและสร้างการควบคุมการทำงานของลิฟต์ (3D – Printer) ขึ้นมา เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากลิฟต์ การแก้ไขสถานการณ์ในกรณีฉุกเฉินส่งผลทำให้ลดการเกิดอันตรายต่อผู้โดยสารตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้จริงตรงตามเป้าหมายและความต้องการได้

รายงานฉบับสมบูรณ์ (PDF)

Clip VDO 

โปสเตอร์ (PDF)

« AA28 โครงงานแบบบ้านจำลองอัจฉริยะ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 จังหวัด แม่ฮ่องสอน (ม.ต้น)
AA07 โครงงานระบบช่วยเหลืออัจฉริยะสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ โรงเรียนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ กทม (ม.ต้น) »

Meta

  • Log in
  • Entries feed
  • Comments feed
  • WordPress.org

CyberChimps WordPress Themes

© โครงงานสมองกลฝังตัว