โครงงานสมองกลฝังตัว

  • หน้าหลัก
  • อิคคิวซัง
    • ปีการศึกษา 2562
    • ปีการศึกษา 2561
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
    • ปีการศึกษา 2558
    • ปีการศึกษา 2557
    • ปีการศึกษา 2556
  • ทสรช.
    • ปีการศึกษา 2562
    • ปีการศึกษา 2561
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
  • สถานพินิจ
    • ปีการศึกษา 2562
  • โรงเรียนคนพิการ
    • ปีการศึกษา 2562
  • มหาวิทยาลัย
    • ปีการศึกษา 2560
    • ปีการศึกษา 2559
  • STEM ปี 2560
  • Show&Share2022
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อศึกษาและดูแลสิ่งแวดล้อม
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเกษตรอัจฉริยะ
    • โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชน
    • โครงงานลิฟต์
    • รายชื่อผู้เข้าแข่งขันอื่นๆ

BB16 โครงงานหิวไหม อู๊ดๆ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๔ จังหวัดอำนาจเจริญ มัธยมศึกษาตอน ปลาย

Posted on December 2, 2022 by hrh Posted in ss65-โครงงาน/สิ่งประดิษฐ์เพื่อการเกษตรอัจฉริยะ .

โครงงานหิวไหม อู๊ดๆ
ระดับ มัธยมศึกษาตอน ปลาย
ประเภท โครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเกษตรอัจฉริยะ

 

ผู้จัดทำ

นางสาวกมลวรรณ ศรีสุวงค์
นางสาวญาณิศา มุ่งงาม
นายดุลยุตม์ สมประสงค์

อาจารย์ที่ปรึกษา:

นายสิทธิพล ใจตรง
นายวีระยุทธ เหมวัล

สถานศึกษา :

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๔ จังหวัดอำนาจเจริญ

ความเป็นมา

หมูเป็นสัตว์เลี้ยงที่รู้จักกันดีมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สุกร การเลี้ยงหมูมีมาเป็นเวลานานหลายพันปี ในปัจจุบันการเลี้ยงหมูมีแพร่หลายทั่วโลก หลายประเทศในแถบเอเชีย ยุโรป และอเมริกา ได้ปรับปรุงการเลี้ยงหมูจนได้ผลดีสามารถนำผลิตผลจากหมูมาเป็นสินค้าส่งออก ไส้กรอก แฮม เบคอน และอาหารกระป้องอื่น ๆที่ทำจากเนื้อหมูเป็นที่นิยมรับประทานกันทั่วไป เนื้อหมูอุดมด้วยโปรตีนและไขมันมีประโยชน์ต่อร่างกายมากใช้ประกอบอาหารได้หลายชนิดเราควรทำให้สุกด้วยการลวก ต้ม หรือทอดก็ได้เพื่อป้องกันพยาธิที่อาจมีอยู่ในเนื้อหมูดิบปัจจุบันโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 54 จังหวัดอำนาจเจริญ เป็นโรงเรียนที่มีนักเรียนอยู่ประจำเรือนนอน โดยโรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนมีรายได้ระหว่างเรียน นักเรียน 1 คน ต่อหนึ่งอาชีพในอาชีพที่นักเรียนสนใจก็จะมีการเลี้ยงหมู ในการเลี้ยงหมูจะต้องดูแลอย่างสม่ำเสมอ ให้อาหารทุกวันซึ่งในการให้อาหารแต่ละวันจะต้องให้เช้าและเย็น เนื่องจากที่โรงเรียนจะต้องมีกิจกรรมอื่น 1 อีกนอกจากการส่งเสริมอาชีพจึงทำให้การให้อาหารหมูไม่สม่ำเสมอบางวันลืมผู้จัดทำจึงเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้คิดหาวิธีในการแก้ไขปัญหาโดยการประดิษฐ์เครื่องตรวจจับอาหารและให้อาหารหมู โดยการวัดจากอาหารที่เหลืออยู่ในถาดรองอาหาร และวัดอาหารที่อยู่ในถังอาหารถ้าไม่มีอาหารอยู่ในถังอาหารให้แจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่น live

รายงานฉบับสมบูรณ์ (PDF)

Clip VDO 

โปสเตอร์ (PDF)

« AB30 โครงงานตู้จ่ายวัสดุสำนักงานอัจฉริยะ โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดภูเก็ต มัธยมศึกษาตอน ปลาย
AA20 โครงงานเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๔ จังหวัดอำนาจเจริญ ม.ต้น »

Meta

  • Log in
  • Entries feed
  • Comments feed
  • WordPress.org

CyberChimps WordPress Themes

© โครงงานสมองกลฝังตัว