TH  |  EN

หลักสูตร “การสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณด้วย KidBright – IoT สำหรับ นักเรียนและครูมัธยมศึกษา” (ด้วยกระบวนการ Online)

 –  ข้อแนะนําการเตรียมการก่อนการเรียนออนไลน์ หลักสูตร “การสร้างสรรค์นวัตกรรม เพืˑอการเรียนการสอนวิทยาการคํานวณ ด้วย KidBright – IoT สําหรับ นักเรียนและครูมัธยมศึกษา” (ด้วยกระบวนการ Online)

 

รายชื่อวิทยากร ผู้ช่วยวิทยากร และคณะทำ

การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอน วิทยาการคํานวณด้วย KidBright – IoT” (ด้วยกระบวนการ Online)

ภายใต้โครงการพัฒนาครูและเยาวชนกลุ่มด้อยโอกาสด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)

กับการเรียนรู้แบบร่วมกัน (Collaborative Learning) จากการสร้างสรรค์นวัตกรรม IoT (Internet of Things)

  1. วิทยากร และผู้ช่วยวิทยากร

1)      รศ.ยืน ภู่วรวรรณ                   อดีตรองอธิการบดี ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2)      รศ.ดร.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์        ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

3)      รศ.ประดนเดช นีละคุปต์          อดีตผู้อำนวยการสำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

4)      ผศ.ชัยพร ใจแก้ว                    ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

5)      คณะวิทยากรและผู้ช่วย                                   

  1. คณะผู้ปฏิบัติงานจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

1)      นางเยาวลักษณ์ คนคล่อง                                 ผู้อำนวยการฝ่ายฯ

2)      นายสุรเดช พหลโยธิน                                      ที่ปรึกษาฯ

3)      นายศิโรจน์ ศรีสรากรณ์                                   นักวิชาการ

4)      นางสาวธัญญ์ณัช บุษบงค์                                 ผู้ประสานงานอาวุโส

5)      นางสาวนวพรรษ คำไส                                    ผู้ประสานงาน

6)      นางสาวเรณุกา อานับ                                      เจ้าหน้าที่ประสานงานทั่วไป

  1. คณะผู้ปฏิบัติงานสำนักงานประสานงานโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

1)      นายชาญชัย วงศ์สารสิน                                   เจ้าหน้าที่สารสนเทศ

2)      นางสาวสุพัตรา บับภาร                                    เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

3)      นางสาวจรรยารัตน์ มาแสง                                เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

  1. ตารางการจัดกิจกรรม

รุ่น

วันที่จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

จำนวน

รุ่น 1

วันอาทิตย์ที่ 18 – วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม 2564

ครูและนักเรียนโรงเรียนของโครงการตามพระราชดำริฯ

1)     โรงเรียน ทสรช. (24 แห่ง)

144 คน

 

 

 

2)     โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม (4 แห่ง)

24 คน

รุ่น 2

วันศุกร์ที่ 6 – วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม

1)   ครูและนักเรียนของสนก. สพฐ. (20 แห่ง)

120 คน

 

2564

2)   ครูและนักเรียนโรงเรียนในพื้นที่แม่ฮ่องสอน (10 แห่ง)

60 คน

 

 

3)   ครูและนักเรียนโรงเรียนของโครงการตามพระราชดำริฯ อื่น ๆ (2 แห่ง)

12 คน

 

 

รวมทั้งสิ้น

360 คน

 

กำหนดการ

วันที่ 1  VDO ย้อนหลัง | Clip1 | Clip2 |

08.00 – 08.45 น.            เปิดระบบเพื่อเตรียมความพร้อมของทุกฝ่าย และลงทะเบียน
08.45  – 09:00 น.           เปิดกิจกรรม และแนะนำจุดประสงค์ของการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์
09:00  – 12:00 น.           กิจกรรม แนะนำให้รู้จัก
                                            –     ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 KidBright 1.5 และอุปกรณ์ประกอบชุดทดลองกิจกรรม

–     การติดตั้งซอฟต์แวร์ การใช้งาน IDE KidBright 1.6

–     การตรวจสอบ ฟังก์ชันการทำงาน และการโค้ดดิ้งเบื้องต้น กับ KidBright

–     การเขียนโค้ด เทคนิคที่สำคัญเกี่ยวกับบอร์ด KidBright 1.5

12:00 – 13:00 น.            พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น.            กิจกรรมการเขียนโค้ด เทคนิคการเขียนโปรแกรม
                                            –     การเชื่อมต่อเซนเซอร์ รู้จักเซนเซอร์ และอุปกรณ์ อินพุตเอาท์พุต แบบต่างๆ

–     การสั่งงาน KidBright 1.5 เพื่อควบคุม และให้ทำงานตามที่ต้องการ

–     การใช้งานภาคแสดงผลและอินพุตเอาท์พุตบนบอร์ด

–     การใช้งานเซนเซอร์พื้นฐานที่อยู่บนบอร์ด และที่จัดเตรียมไว้ให้ในชุดทดลอง

วันที่ 2    VDO ย้อนหลัง | Clip1 | Clip2 |
08:00  – 12:00 น.           กิจกรรม การโค้ดดิ้งกับการพัฒนาการคิด

–     ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานแบบดิจิทัล และอานาล็อก

–     ระบบสื่อสารเบื้องต้นที่เชื่อมโยงบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ แสง สี เสียง สนามแม่เหล็ก
การเคลื่อนที่ ความร้อน และอื่น ๆ 

–     การใช้เซอร์โว และมอเตอร์ การประกอบเป็นหุ่นยนต์ล้อเลื่อนแบบง่าย การเชื่อมต่อ การควบคุม 

12:00 – 13:00 น.            พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น.            กิจกรรม สร้างสรรค์งานดิจิทัล I/O 

–     การสื่อสารผ่านไวไฟ และการโค้ดดิ้ง KidBright และการเชื่อมต่อ

–     การเขียนโค้ดควบคุมเซนเซอร์การสื่อสาร IoT เบื้องต้น และการเชื่อมต่อกับ Brink , Line

วันที่ 3 VDO ย้อนหลัง | Clip1 |

08:00  – 12:00 น.           กิจกรรมการสร้างโครงงานวิศวกรรม และการออกแบบโครงงาน  
12:00 – 13:00 น.            พักกลางวัน
13:00 – 17:00 น.            กิจกรรม การนำเสนอผลงานโครงงาน     

แผนบริหารการสอนประจำห้องอบรม

“การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming)”

รายวิชา               การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming)

เวลาเรียน            24 ชั่วโมง  (จำนวน 3 วัน)

วัตถุประสงค์ทั่วไป

  1.  

เนื้อหา                                                                                                       เวลาเรียน

วันที่ 1               ตอนที่ 1 รู้จักกับ KidBright  1.5 IoT                                                            1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 2 IDE และการโค้ดดิ้งแบบบล็อก                                                         1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 3 Coding with Logic and Loop                                                      1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 4 Plugin                                                                                     1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 5 Function and Task  – Time clock                                                2 ชั่วโมง

 ตอนที่ 6 KidBright กับงานโค้ดดิ้ง                                                                2 ชั่วโมง

วันที่ 2               ตอนที่ 7 Input Output Digital Analog                                                       1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 8 สี และ  ตัวตรวจจับพิเศษ                                                               1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 9 Sensor วัดสิ่งแวดล้อม                                                                  1 ชั่วโมง

 ตอนที่ 10  IoT                                                                                       2 ชั่วโมง

 ตอนที่ 11 หุ่นยนต์ และการใช้ เซอร์โวมอเตอร์                                                  2 ชั่วโมง

 ตอนที่ 12 ตัวตรวจจับความเร่ง และแม่เหล็ก                                                    1 ชั่วโมง

วันที่ 3               ตอนที่ 13 การทำโครงงาน KidBright & coding                                               4 ชั่วโมง

                       ตอนที่ 14 การนำเสนอผลงานและไอเดีย                                                         4 ชั่วโมง

 

วิธีสอนและกิจกรรม

  1. แบ่งกลุ่มศึกษาการใช้งานโปรแกรมโดยการบรรยาย และสาธิต
  2. แบ่งกลุ่มลงมือปฏิบัติตามกิจกรรม
  3. ผู้สอนสรุปเนื้อหาเพิ่มเติม

สื่อการเรียนการสอน

  1. โปรแกรมการเขียนควบคุมการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (KidBright IDE)
  2. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (เซนเซอร์ มอเตอร์ อุปกรณ์แสดงผล)
  3. คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค

รายการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

  1. บอร์ด KidBright พร้อม สาย USB     

<<<<< Download เกียรติบัตร >>>>>