3-08 การนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า

วีดิโอมัลติมีเดียกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโครงการโดยใช้ไอซีที

เรื่อง การนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า วิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3

1. จุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ (Objective)

เพื่อให้นักเรียนสามารถ

  1. นักเรียนได้เรียบเรียงความคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการต่อจิ๊กซอว์
  2. นักเรียนสร้างแผนผังความคิดด้วยโปรแกรม Paint
  3. นักเรียนนำเสนอชิ้นงานหน้าชั้นเรียน

2. กิจกรรม (Activities)

  1. ขั้นสร้างความเข้าใจ

1) ครูแนะนำตัวและสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องความร้อนใต้พิภพ

2) ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อดูความเข้าใจ (กำหนดเวลา 5 นาที)

3) ครูอธิบายกติกาการเล่นเกมจิ๊กซอว์

(ให้นักเรียนช่วยกันนำจิ๊กซอว์แต่ละตัวมาต่อให้ถูกต้องตามกระบวนการผลิตไฟฟ้า โดยให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต เมื่อต่อจิ๊กซอว์เสร็จแล้วให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดโดยโปรแกรม Paint จากนั้นนำผลงานมานำเสนอหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากความร้อนใต้พิภพ)

  1. ขั้นสำรวจและค้นหา

1) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4-5 คน พร้อมแจกอุปกรณ์เกมจิ๊กซอว์และกระดาษสำหรับเขียนแผนผังความคิด

2) สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันต่อจิ๊กซอว์ เมื่อต่อจิ๊กซอว์เสร็จแล้วให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดโดยโปรแกรม Paint จากนั้นนำผลงานมานำเสนอหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากความร้อนใต้พิภพ

  1. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป

ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาอธิบายความเข้าใจในเนื้อหา เสร็จแล้วครูจึงสรุปเนื้อหาทั้งหมดอีกครั้ง เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจง่ายขึ้น

  1. ขั้นขยายความรู้

ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความร้อนใต้พิภพ โดยอธิบายถึงข้อดีและข้อจำกัดในการนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า และแหล่งที่กำเนิดความร้อนใต้พิภพประเภทต่างๆ

  1. ขั้นประเมินผล

ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินกิจกรรมดังต่อไปนี้

  1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  2. แบบประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
  3. แบบประเมินการนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรม Paint

3. เครื่องมือไอซีที/วัสดุ/อุปกรณ์ (Tools and Materials)

  • ใช้ Notebook ในการทำงานในโปรแกรม Paint และหาข้อมูลเพื่มเติม
  • กระดาษสำหรับเขียนแผนผังกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพ
  • มีปากกา สีไม้ ดินสอ ให้แก่เด็ก
  • กระดานจิ๊กซอว์

4. การวัดและประเมินผล

การวัดและการประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
ด้านพุทธิพิสัย

     การวิเคราะห์ ความสามารถในการแยกสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ บอกความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย
เหล่านั้นได้

 

     นักเรียนได้เรียบเรียงความคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการต่อจิ๊กซอว์

 

ความถูกต้องของจิ๊กซอว์

 

   ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

ด้านจิตพิสัย

      การกำหนดคุณลักษณะ การนำค่านิยมที่จัดระบบแล้วมาปฏิบัติจนเป็นนิสัยเฉพาะตน

 

     นักเรียนนำเสนอชิ้นงานหน้าชั้นเรียน

 

    แบบประเมินการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

 

   ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

ด้านทักษะพิสัย

         การปฏิบัติงานด้วยความชำนาญ/ทำงานใหม่ได้ปฏิบัติงานด้วยความคล่องแคล่วเหมือนอัตโนมัติสามารถทำงานใหม่ได้

 

        นักเรียนสร้างแผนผังความคิดด้วยโปรแกรม Paint

 

       ชิ้นงานที่ได้จากโปรแกรม Paint

 

   ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

5. บันทึกอนุทินหลังการจัดการเรียนรู้

จากการจัดการเรียนรู้ แบบ PBL  using ICT เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ฝึกให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ฝึกกระบวนการคิดฝึกจินตนาการ ซึ่งในที่นี้จะนำเอาการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านมาประยุกต์ใช้ด้วย และพบว่า การเรียนรู้ของเด็ก เป็นไปอย่างรวดเร็ว เพราะเด็กได้ไปศึกษาข้อมูลมาก่อนที่จะเรียนจริง ทำให้การเรียน
การสอนเป็นไปได้ด้วยดี เด็กๆเกิดการเรียนรู้มากมาย ได้สนุกกับกิจกรรมที่หลากหลาย ได้กล้าแสดงออก ได้ลงมือทำและยังได้ใช้สื่อไอซีทีในการเรียนรู้ และการเรียนการสอนแบบนี้เป็นการทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากกว่าการบรรยาย

6. ข้อมูลเพิ่มเติม (สามารถใส่ภาพประกอบ วีดิโอเบื้องหลัง แผนการสอน หรืออื่นๆ ประกอบการเล่าเรื่องเพื่อให้คณะกรรมการได้รับทราบเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดาเนินการได้เข้าใจที่ชัดเจนขึ้น)

                                                         แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์                                             ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

วิชา วิทยาศาสตร์                                                                 ภาคเรียนที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ไฟฟ้ามาจากไหน

เรื่อง การนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า

ผู้สอน  น.ส. นราพร       ดงงาม                                                จำนวน 1 ชั่วโมง

         .ส. นัทฐา        มิ่งทุม

         น.ส. เพ็ญพิชญา  จันทร์กระจ่าง

สาระสำคัญ

ความร้อนใต้พิภพเป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ได้จากแหล่งความร้อนซึ่งถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก เป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สามารถนำมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า มีการหมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้ไม่มีวันหมด แต่การนำมาใช้ต้องใช้อย่างเหมาะสมเพราะอาจเสื่อมสภาพได้

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน

ตัวชี้วัด

ว 5.1ป.3/1 บอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า

ว 8.1ป.3/1 ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ

ว 8.1ป.3/2 วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ

ว 8.1ป.3/3 เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ

ว 8.1ป.3/6 แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

ว 8.1ป.3/7 บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา

ว 8.1ป.3/8 นำเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

จุดประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนสามารถ

  1. นักเรียนได้เรียบเรียงความคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการต่อจิ๊กซอว์
  2. นักเรียนสร้างแผนผังความคิดด้วยโปรแกรม Paint
  3. นักเรียนนำเสนอชิ้นงานหน้าชั้นเรียน

สาระการเรียนรู้

พลังงานความร้อนใต้พิภพ คือ พลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความร้อน ที่ถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก ได้แก่ หินร้อนแห้ง แล้วส่วนที่ปรากฏบนผิวโลกได้แก่ น้ำพุร้อน และไอน้ำร้อน ซึ่งสามารถนำความร้อนเหล่านี้มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าแต่การนำความร้อนเหล่านี้มาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าควรมีความระมัดระวัง เพราะอาจมีสารพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในบริเวณนั้น

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

– ทักษะการสำรวจค้นหา

– ทักษะการสังเกต

– ทักษะการสร้างความรู้

– ทักษะการนำความรู้ไปใช้

ความสามารถในการใช้ชีวิต

     – กระบวนการทำงานกลุ่ม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

  1. มีวินัย
  2. ใฝ่เรียนรู้
  3. มุ่งมั่นในการทำงาน

กระบวนการจัดการเรียนรู้ (รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ E5)

  1. ขั้นสร้างความเข้าใจ

1) ครูแนะนำตัวและสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องความร้อนใต้พิภพ

2) ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อดูความเข้าใจ (กำหนดเวลา 5 นาที)

3) ครูอธิบายกติกาการเล่นเกมจิ๊กซอว์

(ให้นักเรียนช่วยกันนำจิ๊กซอว์แต่ละตัวมาต่อให้ถูกต้องตามกระบวนการผลิตไฟฟ้า โดยให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต เมื่อต่อจิ๊กซอว์เสร็จแล้วให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดโดยโปรแกรม Paint จากนั้นนำผลงานมานำเสนอหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากความร้อนใต้พิภพ)

  1. ขั้นสำรวจและค้นหา

1) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4-5 คน พร้อมแจกอุปกรณ์เกมจิ๊กซอว์และกระดาษสำหรับเขียนแผงผังความคิด

2) สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันต่อจิ๊กซอว์ เมื่อต่อจิ๊กซอว์เสร็จแล้วให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดโดยโปรแกรม Paint จากนั้นนำผลงานมานำเสนอหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากความร้อนใต้พิภพ

  1. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป

ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาอธิบายความเข้าใจในเนื้อหา เสร็จแล้วครูจึงสรุปเนื้อหาทั้งหมดอีกครั้ง เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจง่ายขึ้น

  1. ขั้นขยายความรู้

ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความร้อนใต้พิภพ โดยอธิบายถึงข้อดีและข้อจำกัดในการนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า และแหล่งที่กำเนิดความร้อนใต้พิภพประเภทต่างๆ

  1. ขั้นประเมินผล

ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินกิจกรรมดังต่อไปนี้

  1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  2. แบบประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
  3. แบบประเมินการนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรม Paint

แหล่งเรียนรู้/ สื่อการเรียนรู้

  1. วีดิโอสื่อการสอนเรื่องพลังงานความร้อนใต้พิภพ
  2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  3. คอมพิวเตอร์
  4. กระดานจิกซอว์

การวัดและการประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด สิ่งที่วัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
ด้านพุทธิพิสัย

     การวิเคราะห์ ความสามารถในการแยกสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ บอกความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย
เหล่านั้นได้

 

     นักเรียนได้เรียบเรียงความคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการต่อจิ๊กซอว์

 

ความถูกต้องของจิ๊กซอว์

    ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

ด้านจิตพิสัย

      การกำหนดคุณลักษณะ การนำค่านิยมที่จัดระบบแล้วมาปฏิบัติจนเป็นนิสัยเฉพาะตน

 

     นักเรียนนำเสนอชิ้นงานหน้าชั้นเรียน

    แบบประเมินการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

     ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

ด้านทักษะพิสัย

         การปฏิบัติงานด้วยความชำนาญ/ทำงานใหม่ได้ปฏิบัติงานด้วยความคล่องแคล่วเหมือนอัตโนมัติสามารถทำงานใหม่ได้

     นักเรียนสร้างแผนผังความคิดด้วยโปรแกรม Paint

      ชิ้นงานที่ได้จากโปรแกรม Paint

     ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60

เกณฑ์การประเมิน

1. ด้านความรู้และกระบวนการ เรื่องการนำความร้อนใต้พิภพมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า

ประเด็น

การประเมิน

ระดับคุณภาพ
4(ดีมาก) 3 (ดี) 2  (พอใช้) 1  (ปรับปรุง)
     ความถูกต้องของจิ๊กซอว์ ถูกต้องทั้งหมด ผิดบางส่วน    ผิดมากกว่า 3  ส่วนขึ้นไป    ผิดมากกว่า 4  ส่วนขึ้นไป
     การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน       เล่าให้เพื่อนฟังได้อย่างคล่องแคล่ว เนื้อหาครบถ้วน อธิบายให้เข้าใจง่าย     เล่าให้เพื่อนฟังได้อย่างคล่องแคล่ว เนื้อหายังไม่ครบครบถ้วน อธิบายให้พอเข้าใจได้      เล่าให้เพื่อนฟังไม่คล่องแคล่ว เนื้อหายังไม่ครบครบถ้วน อธิบายให้พอเข้าใจได้       เล่าให้เพื่อนฟังไม่คล่องแคล่ว เนื้อหายังไม่ครบครบถ้วน อธิบายไม่เข้าใจ มีเนื้อหากำกวม
      ชิ้นงานที่ได้จากโปรแกรม Paint     มีการเรียงลำดับขั้นตอนกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพได้ถูกต้องเรียบร้อย และสวยงาม

 

   มีการเรียงลำดับขั้นตอนกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพได้ถูกต้องเป็นบางส่วนเรียบร้อย และสวยงาม       มีการเรียงลำดับขั้นตอนกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพสลับกันบางหัวข้อ      มีการเรียงลำดับขั้นตอนกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนใต้พิภพสลับกัน ไม่เรียบร้อย และต้องให้การช่วยเหลือเป็นอย่างมาก

เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก           =   4      ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์  90 – 100 %

ดี                 =   3      ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์  70 – 89 %

ปานกลาง     =   2      ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์  50 – 69 %

ปรับปรุง       =   1      ประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์ 50 %

  1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ประเด็น

การประเมิน

ระดับคะแนน
4 ( ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)
1. มีวินัย     เข้าเรียนตรงเวลาทุกชั่วโมง ส่งงานตรงเวลาทุกครั้ง    เข้าเรียนช้าเป็นบางครั้งหรือเข้าเรียนตรงเวลาแต่ขาดเรียน 1 ครั้ง ส่งงานช้า 1 ครั้ง    เข้าเรียนช้าบ่อยครั้งหรือเข้าเรียนตรงเวลาแต่ขาดเรียน 2 ครั้ง ส่งงานช้า 2 ครั้ง     เข้าเรียนช้าเป็นส่วนใหญ่หรือขาดเรียนมากกว่า 2 ครั้ง ส่งงานช้า มากกว่า2 ครั้ง
2. ใฝ่เรียนรู้     กระตือรือร้นในการเรียน ตอบคำถามทุกครั้งโดยไม่ต้องเรียกถาม    กระตือรือร้นในการเรียนและการตอบคำถามเองบ่อยครั้ง    กระตือรือร้นในการเรียน และตอบคำถามทุกครั้งที่เรียกถาม    ไม่กระตือรือร้นในการเรียน เฉื่อยชา ไม่ให้ความร่วมมือในการเรียน
3. มุ่งมั่นในการทำงาน    ให้ความร่วมมือกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมอย่างเต็มใจ    ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม    ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมไม่ตลอดเวลา    ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม หรือทำกิจกรรมเมื่อครูหรือเพื่อนบอก


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
 

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10 – 12 ดีมาก
8 – 9 ดี
6 – 7 พอใช้
ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

 

                                       แบบประเมินการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 

สมาชิกลุ่ม……………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ให้ทำเครื่องหมายถูก ( /) ในช่องที่ตรงกับความจริง

 ประเมินตนเอง

รายการประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม
5 4 3 2 1
1. มีการวางแผนการทำงาน
2. มีความพร้อมในการนำเสนอ
3. ความน่าสนใจในการนำเสนอ
4. น้ำเสียงดังชัดเจนไม่ติดขัด
5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนำเสนอ

  ครูประเมิน

รายการประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม
5 4 3 2 1
1. มีการวางแผนการทำงาน
2. มีความพร้อมในการนำเสนอ
3. ความน่าสนใจในการนำเสนอ
4. น้ำเสียงดังชัดเจนไม่ติดขัด
5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนำเสนอ  


เกณฑ์การประเมิน

5 4 3 2 1
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ต้องปรับปรุง

 

 

สรุปผลการประเมิน…………………………………………..

ลงชื่อ…………………………………………………ผู้ประเมิน
(…………………………………………………………..)

  

                                                          การนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรม Paint

                     เรื่อง/กิจกรรม……………………………………………………………………………………………

              กลุ่มที่……………..ชื่อกลุ่ม……………………………………ชั้นประถมศึกษาปีที่…………/…………

สมาชิก…………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คำชี้แจง ให้ทำเครื่องหมายถูก ( /) ในช่องที่ตรงกับความจริง         

 

รายการประเมินพฤติกรรม

ผลการประเมิน
ดีมาก

(4)

ดี

(3)

พอใช้

(2)

ปรับปรุง

(1)

1. มีการปรึกษากันก่อนจัดแผนผังความคิดโดยใช้โปรแกรม Paint ในคณะทำงาน
2. มีการแบ่งหน้าที่และทำงานตามหน้าที่ทุกคน
3. มีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน
4. มีการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
5. มีผลงานตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
6. ผลงานเสร็จทันตามเวลา
7. ผลงานมีความคิดสร้างสรรค์
8. ผลงานแสดงถึงการนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ สามารถให้คำแนะนำกลุ่มอื่นได้
9. การจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์เรียบร้อยหลังเลิกปฏิบัติงาน
10. ผลงานมีความถูกต้อง สมบูรณ์ทุกกิจกกรม

เกณฑ์การให้คะแนน

  1. พฤติกรรมหรือผลงานชัดเจนดีมาก ปฏิบัติได้ทุกครั้ง ถือว่าดีมาก ให้ 4 คะแนน
  2. พฤติกรรมหรือผลงานชัดเจนดี ปฏิบัติได้บ่อยครั้ง ถือว่าดี ให้ 3 คะแนน
  3. พฤติกรรมหรือผลงานไม่ชัดเจน ปฏิบัติได้บางครั้ง ถือว่าพอใช้ ให้ 2 คะแนน
  4. พฤติกรรมหรือผลงานไม่ชัดเจน ต้องเตือนบ่อยๆ ถือว่าปรับปรุง ให้ 1 คะแนน

ระดับคุณภาพ   

ร้อยละ 80 ขึ้นไป ให้ดีมาก                                      สรุปผลการประเมิน…………………………………………..

ร้อยละ 70-79 ขึ้นไป ให้ดี                                      ลงชื่อ…………………………………………………ผู้ประเมิน

ร้อยละ 60-69 ขึ้นไปให้พอใช้                                      (…………………………………………………………..)

 

แบบประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์

                                 ชื่อ-สกุล

ลำดับที่

ประเด็นการประเมิน
มีวินัยหรือความรับผิดชอบหรือใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน
4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

 

 ลงชื่อ……………………………….ผู้สังเกต

(……………………………….)

…………/…………/………

 

 

7. รายชื่อเจ้าของผลงาน (2-3 คน ต่อกลุ่ม)

ชื่อ-นามสกุล นางสาวนราพร  ดงงาม  นักศึกษาวิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป  คณะ ครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ 089-7212932 e-mail naraphon-@hotmail.com

ชื่อ-นามสกุล นางสาวนัทฐา  มิ่งทุม  นักศึกษาวิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป  คณะ ครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ 088-8135627 e-mail babymildd2537@gmail.com

ชื่อ-นามสกุล นางสาวเพ็ญพิชญา  จันทร์กระจ่าง  นักศึกษาวิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป  คณะ ครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ 087-3151138 e-mail ja_jan_jang@hotmail.com

อาจารย์ที่ปรึกษา ชื่อ-นามสกุล อาจารย์ อรพรรณ  ธนะขว้าง หมายเลขโทรศัพท์ 084-8864905
e-mail Orrapun.t@gmail.com

อาจารย์ที่ปรึกษา ชื่อ-นามสกุล อาจารย์ เฉลิมชัย  สังโยคะ หมายเลขโทรศัพท์ 084-6209215